จากบทความตอนที่แล้วเราได้เกริ่นถึงข้อดีของแบตเตอรี่ลิเธียมฟอสเฟต (LiFePO4 , LFP , IFR) นี้กันไป ซึ่งลักษณะเด่นของแบตประเภทนี้ที่มีทั้ง ความทนทาน จ่ายไฟแรง และมีความปลอดภัยสูง ข้อดีเหล่านี้อาจทำให้ใครหลายคนเริ่มสนใจ และอยากลองใช้งานเจ้าแบต ประเภทนี้ขึ้นมากันบ้างแล้ว
โดยในบทความนี้ จะขอเรียกแบตเตอรี่ลิเธียมฟอสเฟตสั้นๆ ว่า “LFP” เพื่อให้เนื้อหากระชับมากขึ้น คงไม่ว่ากันนะครับ
แบตเตอรี่ LFP นั้นมีคุณสมบัติที่ดีมากก็จริง แต่ก็มีข้อจำกัดในเรื่องของระบบการชาร์จไฟ อีกทั้งมีความต้องการระบบจัดการแบตเตอรี่ที่ฉลาด ซึ่งจะมีความต่างกับแบตเตอรี่ประเภทอื่นที่เราคุ้นเคยกัน ยกตัวอย่างเช่น เดิมทีเราอาจเคยใช้
ซึ่งแบตเตอรี่กลุ่มที่ยกตัวอย่างมานั้น สามารถนำไปต่ออนุกรม หรือต่อขนานเพื่อให้ได้ความจุ หรือแรงดันไฟที่ต้องการได้ทันที โดยไม่ต้องมีวงจรตรวจสอบสถานะของแบตเตอรี่
แต่สำหรับ แบตเตอรี่ชนิด LFP จำเป็นต้องมีอุปกรณ์เหล่านี้อยู่ด้วยเสมอ จึงจะสามารถทำให้แบตเตอรี่ชนิดนี้ใช้งานได้ดี และมีอายุการใช้งานยาวนาน
อุปกรณ์เหล่านี้ได้แก่
สำหรับการเลือกใช้งาน LFP ยังมีรายละเอียดอื่นที่จำเป็นในการออกแบบแพ็คแบตเตอรี่ ซึ่งผู้ใช้งานควรทราบถึงข้อมูลของอุปกรณ์ที่ต้องการใช้งาน เช่น ระบบการชาร์จ – แรงดันไฟ – กำลังไฟที่ต้องการใช้งาน และเงื่อนไขพิเศษอื่นๆ เพื่อให้สามารถออกแบบแพ็คแบตเตอรี่ที่ใช้งานได้ดี ตรงตามวัตถุประสงค์ และมีปลอดภัย
เป็นยังไงกันบ้างครับ สำหรับบทความภาคต่อของเจ้าแบตเตอรี่ลิเธียมฟอสเฟต (ภาคต่อ) นี้ ถ้ายังมีคำถาม สามารถสอบถามเข้ามาเพิ่มเติมกันได้ และหวังว่าข้อมูลเล็กๆ น้อยๆ ที่ Spa battery มาแนะนำกันวันนี้จะเป็นประโยชน์กับลูกค้าไม่มากก็น้อยนะครับ
สนใจสั่งซื้อสินค้า หรือสอบถามเพิ่มเติมเกี่ยวกับแบตเตอรี่แพ็คทุกประเภท ติดต่อได้ตามรายละเอียดด้านล่าง Spa battery ผู้เชี่ยวชาญด้านแบตเตอรี่ครบวงจร ยินดีบริการ
สอบถามหรือหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
https://www.facebook.com/spabattery
https://www.spabattery.com
หรือ Line : @spabattery นะครับ
หรือต้องการดูตัวอย่างงานในกลุ่มแบตเตอรี่ลิเธียมฟอสเฟต กด link ที่รูปตามด้านล่างได้เลยครับ